 |
 | โจทย์ อัตราส่วน และร้อยละ
1. ชายผู้หนึ่งได้รับเงินเดือนเดือนละ 20,000 บาท เขาต้องผ่อนชำระค่าบ้านร้อยละ 40 ของเงินเดือน ชายผู้นี้ผ่อนชำระค่าบ้านเดือนละเท่าไร |  |  |
| | | คำตอบที่ถูกต้องคือ : 8,000 บาท | | คำอธิบาย :
วิธีคิด | ให้ชายผู้นี้ผ่อนชำระค่าบ้าน เดือนละ x บาท | | ค่าบ้านร้อยละ 40 | = | 40100 | (100 บาท จ่ายค่าบ้าน 40 บาท) | | เขียนสัดส่วน | x20,000 | = | 40100 | | | | 100x | = | 40 × 20,000 | | | | x | = | | | | ดังนั้น ผ่อนค่าบ้านเดือนละ | = | 8,000 | บาท |
| | |
|
|
2. ในร่างกายของคนเราจะมีน้ำอยู่ประมาณ 70% ของน้ำหนักตัว ถ้าวรรณีหนัก 48 กิโลกรัม วรรณีมีส่วนที่ไม่เป็นน้ำอยู่ในร่างกายประมาณกี่กิโลกรัม |  |  |
|
| | คำตอบที่ถูกต้องคือ : 14.4 กิโลกรัม | | คำอธิบาย :
วิธีคิด | ให้ส่วนที่ไม่เป็นน้ำในร่างกาย | = | x | กิโลกรัม | | | | ร่างกายของคนเรามีน้ำอยู่ 70% | = | 70100 | แสดงว่า ส่วนที่ไม่มีน้ำ | = | 30100 | | เขียนสัดส่วน | x48 | = | 30100 | | | | | | 100x | = | 30 × 48 | | | | | | x | = | 30 × 48100 | | | | | ดังนั้น วรรณีมีส่วนที่ไม่เป็นน้ำในร่างกาย | = | 14.4 | กิโลกรัม | | |
| | |
|
|
3. โรงเรียนคณิตวิทยาเปิดรับนักเรียนเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยรับผู้ที่มีความสามารถพิเศษ 32 คน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 8 ของจำนวนนักเรียนที่รับเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จงหาว่าโรงเรียนนักเรียนเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ทั้งหมดกี่คน |  |  |
|
| | คำตอบที่ถูกต้องคือ : 400 คน | | คำอธิบาย :
วิธีคิด | ให้นักเรียนทั้งหมดที่รับเข้าเรียนชั้นมัธยมปีที่ 1 ทั้งหมด | = | x | คน | | รับผู้ที่มีความสามารถพิเศษร้อยละ 8 | = | 8100 | (นักเรียนทั้งหมด 100 คน รับได้ 8 คน) |
| เขียนสัดส่วน | 32x | = | 8100 | | | | 8x | = | 32 × 100 | | | | x | = | | | | ดังนั้น โรงเรียนรับนักเรียนเข้าเรียนชั้น ม.1 ทั้งหมด | = | 400 | คน |
| | |
|
 |
4. เมื่อปี พ.ศ.2545 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ได้ขยายระบบจำหน่วยไฟฟ้าไปแล้ว 99% เป็นจำนวน 70,450 หมู่บ้าน จงหาว่ายังเหลืออีกประมาณกี่หมู่บ้านที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ |  |  |
| | | คำตอบที่ถูกต้องคือ : 712 หมู่บ้าน | | คำอธิบาย :
วิธีคิด | กฟภ.ขยายเขตระบบจำหน่ายไฟฟ้าไปแล้ว 90% | = | 9910 | (100 หมู่บ้าน ขยายแล้ว 99 หมู่บ้าน) | | ให้หมู่บ้านทั้งหมด | = | x | หมู่บ้าน | | [หลักคิด ในการตั้งสัดส่วน สามารถคิดได้หลายวิธี แต่วิธีที่จะง่ายคือพยายามเขียนสัดส่วนจากโจทย์กำหนดให้ | | เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน ในที่นี้จะคิดจากจำนวนหมู่บ้านที่ขยายแล้วก่อน] |
| จะได้สัดส่วน | 70,450x | = | 99100 | | | | | | 99x | = | 70,450 × 100 | | | | | | x | = | 70,450 × 10099 | | | | | จะได้ หมู่บ้านทั้งหมด | = | 71,161.61 | ≈ | 71,162 | หมู่บ้าน | | ดังนั้น จำนวนหมู่บ้านที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ | = | 71,162 - 70,450 | หมู่บ้าน | | | = | 712 | | | หมู่บ้าน |
| | |
|
 |
5. ร้านเรืองชัยการไฟฟ้าตั้งราคาโทรทัศน์ไว้ 25,300 บาท โดยยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ส่วนร้านยิ่งเจริญ ตั้งราคาโทรทัศน์ชนิดเดียวกันกับร้านแรกไว้เป็นเงิน 27,000 บาท โดยรวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว นักเรียนควรจะซื้อโทรทัศน์จากร้านไหนจึงจะได้ราคาถูกกว่า |  |  |
|
| | คำตอบที่ถูกต้องคือ : ควรซื้อจากร้านยิ่งเจริญจะได้ราคาถูกกว่า | | คำอธิบาย :
วิธีคิด | ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ของราคา 25,300 บาท | = | | บาท | | | = | 1,771 | บาท | | ร้านเรืองชัยการไฟฟ้า ขายโทรทัศน์ราคา 25,300 + 1,771 | = | 27,071 | บาท (รวมภาษีแล้ว) | | ร้านยิ่งเจริญ ขายโทรทัศน์ราคา | = | 27,000 | บาท (รวมภาษีแล้ว) | | ดังนั้น ควรซื้อโทรทัศน์จากร้านยิ่งเจริญ เพราะราคาถูกกว่าร้านเรืองชัยการไฟฟ้า 71 บาท |
| | |
|
 |
6. ซื้อไข่มา 120 ฟอง ราคา 204 บาท ในจำนวนนี้มีไข่แตกร้อยละ 2.5 ถ้าขายไข่ที่เหลือไปทั้งหมดฟองละ 2.50 บาท จะได้กำไรหรือขาดทุนร้อยละเท่าใด |  |  |
|
| | คำตอบที่ถูกต้องคือ : จะได้กำไรร้อยละ 43.38 | | คำอธิบาย :
วิธีคิด | ไข่แตกร้อยละ 2.5 | = | 2.5100 | (ไข่ 100 ใบ แตก 2.5 ใบ) | | ให้ไข่แตก | = | x | ใบ | | | x120 | = | 2.5100 | | | | 100x | = | 2.5 × 120 | | | | x | = | 2.5 × 120100 | | | ดังนั้น ไข่แตกจำนวน | | = | 3 | ใบ | | จะได้ ไข่ที่เหลือ 120 - 3 | = | 117 | ใบ | | เดิม ซื้อไข่มา 120 ฟอง ราคาทุน 204 บาท | | | ไข่ที่เหลือ 117 ฟอง ขายราคาฟองละ 2.50 บาท | | | ดังนั้น ไข่ 117 ฟอง ขายได้เงิน | = | 117 × 2.50 | บาท | | | = | 292.5 | บาท | | จะได้ กำไร | = | 292.5 - 204 | = | 88.5 | บาท | | ให้กำไร | = | x% | หมายถึง ราคาทุน 100 บาท ได้กำไร x บาท | | เขียนสัดส่วน | x100 | = | 88.5204 | | | | x | = | 88.5 × 100204 | | | ดังนั้น จะได้กำไรร้อยละ | = | 43.38 | |
| | |
|
 |
7. ซื้อที่ดิน 200 ตารางวา เป็นเงิน 600,000 บาท แบ่งขายที่ดินไปครึ่งหนึ่งเป็นเงิน 350,000 บาท จะต้องขายที่เหลือไปเป็นเงินเท่าใด จึงจะได้กำไรทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 20 |  |  |
| | | คำตอบที่ถูกต้องคือ : 370,000 บาท | | คำอธิบาย :
วิธีคิด | กำไรร้อยละ 20 | = | 20100 | (เงินต้น 100 บาท ต้องขายราคา 120 บาท) | | ให้ --------x | = | ----เงินที่ต้องขายจากเงินต้น 600,000 บาท | | จะได้ | x600,000 | = | 120100 | | | | x | = | 120 × 600,000100 | | | | x | = | 720,000 | บาท | | จะได้ว่า เงินที่ต้องได้จากการขายที่ดิน 200 ตารางวา เป็นเงิน 720,000 บาท จึงจะทำให้มีกำไรร้อยละ 20 | | แต่ 100 ตารางวา ถูกแบ่งขายไปแล้ว | 350,000 | บาท | | ดังนั้น อีก 100 ตารางวา จะต้องขายในราคา | 720,000 - 350,000 | = | 370,000 บาท | | จึงจะทำให้ได้กำไรร้อยละ 20 |
| | |
|
 |
8. ข้อสอบวิชาสังคมศึกษามี 2 ฉบับ ฉบับละ 40 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รัตนาทำข้อสอบฉบับแรกได้คะแนน 70% จะต้องทำข้อสอบฉบับที่สองถูกกี่ข้อจึงจะได้คะแนนรวม 2 ฉบับเป็น 80% |  |  |
|
| | คำตอบที่ถูกต้องคือ : 36 ข้อ | | คำอธิบาย :
วิธีคิด | ข้อสอบฉบับที่ 1 มี 40 ข้อ ให้ทำได้ | = | x | คะแนน | | | ข้อสอบฉบับที่ 1 ทำได้คะแนน 70% | = | 70100 | (ข้อสอบ 100 ข้อ ทำได้ 70 คะแนน) | | เขียนสัดส่วน ได้เป็น | x40 | = | 70100 | | | | | x | = | 70 × 40100 | | | | ดังนั้น ฉบับแรกทำได้ | = | 28 | คะแนน หรือ 28 ข้อ | (ข้อละ 1 คะแนน) | | ทำข้อสอบได้คะแนน 80% | = | 80100 | (ข้อสอบ 100 ข้อ ทำได้ 80 คะแนน) | | ให้ข้อสอบสองฉบับรวมกัน | = | 80 ข้อ | ทำได้ y คะแนน | | | เขียนสัดส่วนได้เป็น | y80 | = | 80100 | | | | | y | = | 80 × 80100 | | | | จะได้ว่า ข้อสอบสองฉบับรวมกัน | = | 64 | คะแนน หรือ 64 ข้อ | | ดังนั้น ต้องทำข้อสอบฉบับที่สองถูก 64 - 28 | = | 36 ข้อ | จึงจะได้คะแนนรวมเป็น 80% |
| | |
|
 |
9. ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์มี 2 ฉบับ ฉบับแรกมนัสทำได้ 75% ของคะแนนเต็ม 80 ฉบับที่สองมนัสทำได้ 70% ของคะแนนเต็ม 120 จงหาว่ามนัสทำข้อสอบวิชานี้ได้กี่เปอร์เซ็นต์ |  |  |
| | | คำตอบที่ถูกต้องคือ : 72% | | คำอธิบาย :
วิธีคิด | ฉบับแรก ทำได้ 75% ของคะแนนเต็ม 80 | | | | แสดงว่า ฉบับแรกทำคะแนนได้ | 75100 × 80 | = | 60 | คะแนน | | | ฉบับที่สอง ทำได้ 70% ของคะแนนเต็ม 120 | | | | แสดงว่า ฉบับแรกทำคะแนนได้ | 70100 × 120 | = | 84 | คะแนน | | | คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์สองฉบับรวมกัน | = | 80 + 120 | = | 200 | คะแนน | | มนัสทำได้สองฉบับรวมกัน | = | 60 + 84 | = | 144 | คะแนน | | ให้มนัสทำข้อสอบวิชานี้ได้ | x% | | | | | | เขียนสัดส่วน | x100 | = | 144200 | | | | | x | = | 144 × 100200 | | | | ดังนั้น มนัสทำข้อสอบวิชานี้ได้ | = | 72% | |
| | |
|
 |
10. การสอบวัดผลวิชาคณิตศาสตร์ มีอัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคต่อปลายภาคเป็น 60 : 40 กนกทำคะแนนระหว่างภาคได้ 60% กนกต้องสอบปลายภาคให้ได้กี่คะแนน จึงจะได้คะแนนรวมเป็น 60 คะแนน |  |  |
| | | คำตอบที่ถูกต้องคือ : 24 คะแนน | | คำอธิบาย :
วิธีคิด | ระหว่างภาค กนกทำคะแนนได้ | 60% | ของ | 60 | คะแนน | | | จะได้ว่า กนกทำคะแนนระหว่างภาคได้ | 60100 × 60 | = | 36 | คะแนน | | | ดังนั้น กนกต้องสอบปลายภาคได้คะแนน 60 - 36 | = | 24 | คะแนน |
| | |
|
 |
11. โกสินทร์ทำงานและมีบ้านพักอาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ เขาต้องการไปเยี่ยมแม่ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยขับรถไปเองด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ระยะทางจากกรุงเทพฯ ถึงนครศรีธรรมราชประมาณ 780 กิโลเมตร โกสินทร์คิดคำนวณเวลาที่ต้องักระหว่างการเดินทางไว้ 20% ของเวลาในการขับรถทั้งหมด โกสินทร์จะต้องใช้เวลาในการเดินทางและพักทั้งสิ้นกี่ชั่วโมงกี่นาที |  |  |
| | | คำตอบที่ถูกต้องคือ : 10 ชั่วโมง 24 นาที | | คำอธิบาย :
 | | |
|
 |
12. สมหมายฝากเงินไว้กับธนาคาร 3,500 บาท เป็นเวลา 2 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2 ต่อปี คิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 12 เดือน และถูกหักภาษีดอกเบี้ย 15% เมื่อครบ 2 ปี สมหมายได้ดอกเบี้ยทั้งหมดประมาณเท่าไร |  |  |
| | | คำตอบที่ถูกต้องคือ : 120.01 บาท | | คำอธิบาย :
วิธีคิด | อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2 ต่อปี หักภาษีดอกเบี้ย | 15% | | | | ให้ดอกเบี้ยรับ 2 บาท ต้องเสียภาษี | t | | บาท | | เขียนสัดส่วนได้ ดังนี้ | t2 | = | 15100 | | | | t | = | 15 × 2100 | | | | t | = | 0.3 | | | ดังนั้น จะได้รับดอกเบี้ยหลังหักภาษีเป็น | 2 - 0.3 | = | 1.7% | ต่อปี | | ให้ดอกเบี้ยหลังหักภาษีสิ้นปีที่ 1 | | = | x | บาท | | จะได้ | x3,500 | = | 1.7100 | | | | x | = | 1.7 × 3,500100 | | | ดังนั้น จะได้ดอกเบี้ยสิ้นปีที่ 1 | | = | 59.5 | บาท | | ธนาคารคิดดอกเบี้ยทบต้นให้ ดังนั้น สิ้นปีที่ 1 เงินต้นจะเป็น 3,500 + 59.5 = 3,559.5 บาท | | ให้ดอกเบี้ยหลังหักภาษีสิ้นปีที่ 2 | | = | y | บาท | | จะได้ | y3,559.5 | = | 1.7100 | | | | y | = | 1.7 × 3,559.5100 | | | ดังนั้น จะได้ดอกเบี้ยสิ้นปีที่ 2 | | = | 60.51 | บาท | | ดังนั้น ฝากครบ 2 ปี สมหมายได้ดอกเบี้ยทั้งหมดประมาณ 59.5 + 60.51 = 120.01 บาท |
| | |
|
 |
13. ฝากเงินไว้กับธนาคารแห่งหนึ่งเป็นเงิน 8,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.5 ต่อไป คิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 6 เดือน และถูกหักภาษีดอกเบี้ยร้อยละ 15 เมื่อครบ 1 12 ปี จะมียอดเงินในบัญชีประมาณเท่าไร |  |  |
| | | คำตอบที่ถูกต้องคือ : ประมาณ 8,153.97 บาท | | คำอธิบาย :
วิธีคิด | ให้ดอกเบี้ยของเงินฝาก 6 เดือนแรก | = | x | | | บาท | | ได้ดอกเบี้ยร้อยละ 1.5 ต่อปี | = | 1.5 × 612 | = | 0.75% | ต่อ 6 เดือน | | เขียนสัดส่วนได้ดังนี้ | x8,000 | = | 0.75100 | |
| | | | x | = | 0.75 × 8,000100 | |
| | | ดังนั้น ดอกเบี้ย 6 เดือนแรก | = | 60 | | | บาท | | แต่ดอกเบี้ยถูกหักภาษี 15% | = | 60 × 15100 | = | 9 | บาท | | จะได้ ดอกเบี้ยรับจริง | = | 60 - 9 | = | 51 | บาท | | ธนาคารคิดดอกเบี้ยทบต้นให้ | | | | | | | ดังนั้น เงินต้นใน 6 เดือนถัดไป | = | 8,000 + 51 | = | 8,051 | บาท | | ให้ดอกเบี้ย 6 เดือนที่สอง | = | y | | | บาท | | จะได้ | y8,051 | = | 0.75100 | |
| | | | y | = | 0.75 × 8,051100 | |
| | | ดังนั้น 6 เดือนที่สอง | = | 60.38 | | | บาท | | หักภาษี 15% | = | 60.38 × 15100 | = | 9.057 | บาท | | จะได้ดอกเบี้ยจริง | = | 60.38 - 9.057 | = | 51.323 | บาท | | ดังนั้น เงินต้นใน 6 เดือนถัดไป | = | 8,051 + 51.323 | = | 8,102.32 | บาท | | ให้ดอกเบี้ย 6 เดือนที่สาม (ครบ 1 12 ปี) | = | z | | | บาท | | จะได้ | z8,102.32 | = | 0.75100 | |
| | | | z | = | 0.75 × 8,102.32100 | |
| | | ดังนั้น ดอกเบี้ย 6 เดือนที่สาม | = | 60.77 | | | บาท | | หักภาษี 15% | = | 60.77 × 15100 | = | 9.12 | บาท | | จะได้ดอกเบี้ยจริง | = | 60.77 - 9.12 | = | 51.65 | บาท | | ดังนั้น เมื่อฝากครบ 1 12 จะมียอดเงินใน บัญชีประมาณ 8,102.32 + 51.65 = 8,153.97 บาท |
| |
|
|
 |
14. โดยทั่วไปในการซื้อสินค้าเงินผ่อน ผู้ซื้อต้องวางเงินดาวน์ไว้ส่วนหนึ่ง ค่าสินค้าที่เหลือจากหักเงินดาวน์ทั้งหมด ผู้ขายจะนำไปคิดดอกเบี้ยเต็มช่วงเวลาของระยะผ่อนชำระแล้วนำดอกเบี้ยที่คำนวณได้ ไปรวมกับค่าสินค้าที่เหลือจากหักเงินดาวน์ทั้งหมด ต่อจากนั้นจึงเฉลี่ยเงินรวมนี้ตามจำนวนงวดที่ต้องผ่อนชำระ เพื่อหาว่าแต่ละงวดผู้ซื้อต้องผ่อนชำระเท่าไร
ราคาขายเงินสดของรถจักรยานยนต์คันหนึ่งเป็น 45,000 บาท ถ้าต้องการซื้อโดยการผ่อนชำระจะต้องวางเงินดาวน์ 20% ของราคาขาย ที่เหลือผ่อนชำระ 24 เดือนเท่าๆ กัน ทุกเดือนกับทางบริษัทในอัตราดอกเบี้ย 4% ต่อปี จงหาว่าจะต้องผ่อนชำระเดือนละเท่าไร |  |  |
| | | คำตอบที่ถูกต้องคือ : 1,620 บาท | | คำอธิบาย :
วิธีคิด | ราคาขายเงินสดเต็มจำนวน | = | 45,000 | | | บาท | | วางเงินดาวน์ 20% | = | 45,000 × 20100 | = | 9,000 | บาท | | ดังนั้น ค่ารถจักรยานยนต์หลังหักเงินดาวน์ | = | 45,000 - 9,000 | = | 36,000 | บาท | | ค่าดอกเบี้ยร้อยละ 4 ต่อปี | | | | | | | ดังนั้น ดอกเบี้ยตกปีละ | = | 4100-× 36,000 | = | 1,440 | บาท | | ผ่อนชำระ 24 เดือน คือ ผ่อน 2 ปี ดอกเบี้ย | = | 1,440 × 2 | = | 2,880 | บาท | | จะได้ ค่ารถจักรยานยนต์ + ดอกเบี้ยเงินผ่อน | = | 36,000 + 2,880 | | | บาท | | | = | 38,880 | | | บาท | | ผ่อน 24 เดือนๆ ละเท่าๆ กัน | | | | | | | ดังนั้น ต้องผ่อนชำระเดือนละ | = | 38,88024 | = | 1,620 | บาท |
|
|
คุณกำลังมองหาเงินกู้หรือไม่? หรือคุณปฏิเสธการกู้ยืมเงินจากธนาคารหรือสถาบันการเงินด้วยเหตุผลอย่างน้อยหนึ่งข้อ? คุณมีสถานที่ที่เหมาะสมสำหรับการแก้ปัญหาสินเชื่อของคุณที่นี่! ผู้ให้กู้แอนโทนี่ Yuliana ให้เงินกู้ยืมแก่ บริษัท และบุคคลในอัตราดอกเบี้ยต่ำและราคาไม่แพง 1% กรุณาติดต่อเราทางอีเมลวันนี้ผ่าน anthony.yulianalenders@gmail.com
ตอบลบหรือผ่าน BBM INVITE (E37F9BCC)